RSS

Monthly Archives: May 2011

はじめまして

はじめまして。私(わたし)は山口(やまぐち)友里(ゆり)恵(え)です。

今年(ことし)の4月(がつ)からみなさんと一緒(いっしょ)に日本語(
にほんご)を勉強(べんきょう)します。よろしくお願(ねが)いします。

今日(きょう)は私(わたし)の趣味(しゅみ)についてお話(はなし)します。
私(わたし)の趣味(しゅみ)は写真(しゃしん)を撮(と)ることです。
私(わたし)の友(とも)だちが「一眼(いちがん)レフ」のカメラ(Digital SLR camera)
を持(も)っていて、写(しゃ)真(しん)を撮(と)る姿(すがた)が素(す)敵(てき)だなぁ、
かっこいいなぁと思(おも)ったからです。

このカメラを持(も)って、今(いま)までにアメリカ、ベトナム、
タイなどへ旅行(りょこう)に行(い)きました。

まだ写(しゃ)真(しん)を撮(と)ることは上手(じょうず)じゃありませんが、
これからも写(しゃ)真(しん)をたくさん撮(と)りたいと思(おも)います。

タイの中(なか)で、おすすめスポットがあったら、
是(ぜ)非(ひ)教(おし)えてくださいね。

最後(さいご)に、話(はなし)が変(か)わりますが私(わたし)
は早稲田(わせだ)大学(だいがく)に通(かよ)っていました。
早稲田(わせだ)大学(だいがく)の別科(べっか)について、
何(なに)か聞(き)きたいことがあったら、聞(き)いてくださいJ

(書(か)いた人(ひと):山口(やまぐち) 友里恵(ゆりえ))

 

「五月病(ごがつびょう)」

5月(がつ)は祝日(しゅくじつ)(national holiday)が多(おお)いですね。
日本(にほん)も同(おな)じです。

日本(にほん)では5月(がつ)、祝日(しゅくじつ)が続(つづ)く週(しゅう)
をゴールデンウィークといいます。ゴールデンウィークはいつも仕事(しごと)
でいそがしい日本人(にほんじん)が、旅行(りょこう)をしたり、
いなかへ帰(かえ)ったりします。

みなさんは、「五月病(ごがつびょう)」ということばを聞(き)いたことがありますか。
ゴールデンウィークが終(お)わった5月(がつ)のはじめから中(なか)
ごろにかけてかかることから、「五月病(ごがつびょう)」と言(い)われています。
4月(がつ)に新(あたら)しい仕事(しごと)や学校(がっこう)が始(はじ)まり、
なれない仕事(しごと)や人間関係(にんげんかんけい)でたまっていた疲(つか)
れが、ゴールデンウィークに一気(いっき)に出(で)て、
それがいろいろな症状(しょうじょう)(symptom)となってあらわれる病気(びょうき)です。
または、ゴールデンウィークに遊(あそ)びすぎて、現実(げんじつ)の元(もと)
の生活(せいかつ)にもどれなくなってしまうこともあるそうです。

「五月病(ごがつびょう)」は、心(こころ)の病気(びょうき)です。
がんばろう、という気持(きも)ちがなくなったり、人(ひと)に会(あ)
うことがめんどうになったり、いつも何(なに)かを心配(しんぱい)していたり、
夜眠(よるねむ)れなくなったりするそうです。心(こころ)が病気(びょうき)になると、
体(からだ)の調子(ちょうし)も悪(わる)くなりますから大変(たいへん)です。

このような症状(しょうじょう)は、だれでも経験(けいけん)
したことがあると思(おも)います。でも中(なか)には、
「五月病(ごがつびょう)」がきっかけで、会社(かいしゃ)や学校(がっこう)
をやめてしまう人(ひと)もいるようです。

みなさんは「五月病(ごがつびょう)」になっていませんか。
マイペースでいきましょう。

    (書(か)いた人(ひと):佐藤(さとう)亜希(あき))

 
Leave a comment

Posted by on 05/28/2011 in By Sensei, Variety, Waseda News

 

Waseda Sriracha Diary : Bowling Together

พี่น้องชาววาเซดะศรีราชา จัดมหกรรมโบลิ่งต้อนรับน้องใหม่
และยืดเส้นยืดสายก่อนจะจัดตั้งทีมฟุตซอลล์ (เอ่อ …คาดว่าจะเริ่มในเร็ววัน)
การแข็งขันเป็นไปอย่างดุเดือดและเข้มข้น หาได้มีทีมใดยอมอ่อนข้อให้แก่กันไม่
เนื่องจากเดิมพันค่อนข้างซีเรียส ทีมใดแพ้อาจต้องเสียทรัพย์ในกระเป๋า

หลังจากจบกิจกรรมโบลิ่ง พวกเราจึงตระหนักว่า
ควรจะออกกำลังกายกันอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อสุขภาพกายและใจที่แข็งแรงนะคะ

 

槍(やり)ヶ(が)岳(たけ)

みなさんは富士山(ふじさん)を知っていますね。
日本(にほん)で一番高(いちばんたか)い山(やま)です。
高(たか)さは3776メートルです。とてもきれいな山(やま)ですから、
夏(なつ)には、たくさんの人(ひと)が富士山(ふじさん)に登(のぼ)ります。
外国人(がいこくじん)にもとても人気(にんき)です。

日本(にほん)には富士山(ふじさん)のほかにも3000メートルより高(たか)
い山(やま)がたくさんあります。その中(なか)でも、長野県(ながのけん)
と富山県(とやまけん)と岐阜県(ぎふけん)の間(あいだ)にある槍(やり)ヶ(が)
岳(たけ)は有名(ゆうめい)です。山(やま)の形(かたち)が槍(やり)(spear)
ににていますから、この名前(なまえ)になりました。ヨーロッパにある
「マッターホルン」(Matterhorn)ににていますから、「日本(にほん)の
マッターホルン(ほるん)」とよばれています。高(たか)さは3180メートルで、
日本(にほん)で5番目(ばんめ)に高(たか)い山(やま)です。


私は登山(とざん)(山(やま)に登(のぼ)ること)がすきです。
去年(きょねん)の夏(なつ)、兄(あに)と兄(あに)の友(とも)だちと一
緒(いっしょ)に槍(やり)ヶ(が)岳(たけ)に登(のぼ)りました。テント(てんと)
やねぶくろ(sleeping bag)や料理(りょうり)を作(つく)るガスバーナー
(gas burner)などを持(も)っていきました。

山(やま)の頂上(ちょうじょう)(summit)に着くまで、10時間(じかん)
ぐらい歩(ある)きました。たくさん荷物(にもつ)がありましたから、
とてもつかれました。大(おお)きな岩(いわ)(rock)がたくさんあって、
あぶない所(ところ)もたくさんありました。でも 頂上(ちょうじょう)
からみえる景色(けしき)(view(ヴぃえw))はとてもきれいでした。
夜(よる)、テント(てんと)の中(なか)で食(た)べたカレーライスもとて
もおいしかったです。チャンスがあったら、みなさんも槍(やり)ヶ(が)
岳(たけ)に登(のぼ)ってみてください。

(書(か)いた人(ひと);荒井(あらい) 祐二(ゆうじ))

 
 

結婚ラッシュ



みなさんの中で、結婚したいと思っている人、
結婚したいと思ったことがある人はどのくらいいるでしょうか。
実(じつ)は、今日本では、この結婚についておもしろいことが起きているようです。
ある調査(ちょうさ)によると、3月11日に日本で起きた地震の後から、結婚する
カップルが増(ふ)えているそうです。去年よりも20%も増(ふ)えたと聞いて、
私もびっくりしました。

この機会(きかい)に結婚を決めた人に、どうして今結婚するのかを聞いてみると、
「地震が起きて、いろいろなことが心配だったときに、いっしょにいてくれた人だから」
「電車で家に帰ることができなくなって、暗い道を一人で歩いていたときに、
一番最初(いちばんさいしょ)に連絡(れんらく)してくれた人だから」

「物がたくさん落(お)ちている暗い部屋を一人で片付(かたづ)けていると、寂(さび)
しくなった。そばにいてくれる家族がほしいと思ったから」
という意見が多かったそうです。

給料(きゅうりょう)が高いことももちろん大切ですが、それよりも、
いっしょにいて安心(あんしん)できることが今は一番(いちばん)
大切なのかもしれませんね。 地震と津波(つなみ)で大勢(たいせい)
の人が亡(な)くなりました。そのことはとても悲(かな)しいことです。
毎日のように、悲しいニュースがたくさんあります。その中で私はこ
のニュースを見つけることができて、少し温かい気持ちになりました。

(書(か)いた人(ひと):穴見梢三(あなみしょうぞう))

 
Leave a comment

Posted by on 05/25/2011 in By Sensei, Variety, Waseda News

 

節電(せつでん)ビズ

みなさん「節電(せつでん)」という言葉(ことば)を知(し)っていますか?
「節電(せつでん)」は「電気(でんき)を節約(せつやく)する」という意味(いみ)です。
日本(にほん)では2005年(ねん)の夏(なつ)に温室効果(おんしつこうか)ガスを
減(へ)らすため、“クール・ビズ(COOL・BIZ)”がスタートしました。“クール・ビズ”とは、
職場(しょくば)のエアコンの設定温度(せっていおんど)を28℃にし、その中(なか)
で快適(かいてき)に過(す)ごすためにいろいろな工夫(くふう)をすることです。
(例(たと)えば、スーツのジャケットを着(き)なくてもいい、
ネクタイをしなくてもいい、など)

今年(ことし)は福島県(ふくしまけん)にある原子力発電所
(げんしりょくはつでんじょ)で事故(じこ)が起(お)きたため、被災地(ひさいち)
の東北地方(とうほくちほう)を中心(ちゅうしん)に、電力(でんりょく)
がかなり不足(ふそく)しています。そこで、今(いま)まで以上(いじょう)
に電気(でんき)を節約(せつやく)しようと、“節電(せつでん)ビズ”という
言葉(ことば)が生(う)まれました。

東京証券取引所(とうきょうしょうけんとりひきじょ)ではワイシャツの代(か)
わりにポロシャツを着(き)てもいいそうです。職場(しょくば)だけではなく、
電車(でんしゃ)などでも今年(ことし)の夏(なつ)はエアコンの設定温度
(せっていおんど)を上(あ)げる予定(よてい)です。各家庭(かくかてい)でも、
「エアコンの代(か)わりに扇風機(せんぷうき)を使(つか)おう」「すだれやカーテン
を利用(りよう)しよう!」「家族(かぞく)はなるべく一(ひと)つの部屋(へや)
に集(あつ)まって、団(だん)らんを!」「夏休(なつやす)みは電力(でんりょく)
が不足(ふそく)していない西日本(にしにほん)に旅行(りょこう)に行(い)
こう!」などと呼(よ)びかけています。

タイは暑(あつ)いのに、建物(たてもの)や乗(の)り物(もの)の中(なか)
はエアコンが効(き)きすぎていて、寒(さむ)いですよね。ワセダも毎日(まいにち)
とても寒(さむ)いと思(おも)います。タイでもみんなで“節電(せつでん)
ビズ!”いかがでしょうか。           

(書(か)いた人(ひと):篠田(しのだ)あや)

 

レインボーローズ

タイの母(はは)の日(ひ)(Mother’s day)は12月(がつ)8日(か)ですね。
日本(にほん)は5月(がつ)の2番目(ばんめ)の日曜日(にちようび)(2nd Sunday)
が母(はは)の日(ひ)です。今年(ことし)は、5月(がつ)8日(か)が母(はは)の日(ひ)です。
母(はは)の日(ひ)に、みなさんは何(なに)をしますか?私(わたし)
は母(はは)に花(はな)をあげます。

3年前(ねんまえ)、とてもきれいな花(はな)を見(み)つけました。

「レインボーローズ(rainbow rose)」という花(はな)です。

これはオランダ(Holland)の研究者(けんきゅうしゃ)が発明(はつめい)
したバラです。このバラは、花(はな)びら(petal)の色(いろ)が全部(ぜんぶ)
違(ちが)います。こんなにきれいな花(はな)が作(つく)れるなんて、すご~いですね☺
花言葉(はなことば)は「奇跡(きせき)(miracle)」です☻

レインボーローズを見(み)つけてから、毎年(まいとし)この花(はな)
をプレゼントしています。去年(きょねん)はレインボーローズの
プリザーブドフラワー(preserved flower)をプレゼントしました。
プリザーブドフラワーは、枯(か)れませんから、うちの玄関(げんかん)
にずっと飾(かざ)ってあります。珍(めずら)しい花(はな)ですから、うち
に来(き)た人(ひと)はこれを見て驚(おどろ)くそうです。

今年(ことし)の母(はは)の日(ひ)は・・・・・・残念(ざんねん)ですが、
カードだけ送(おく)りました。来年(らいねん)は、またレインボーローズを
プレゼントしたいです。

私(わたし)の町(まち)には、「日本一(にほんいち)長(なが)いバラの
トンネル」があります。300m以上(いじょう)の細(ほそ)い道(みち)に、
53種類(しゅるい)のバラが427本(ほん)あります。
もし、このトンネルにレインボーローズがあったら、とてもきれいでしょうね。

(書(か)いた人(ひと):遠山(とおやま) 陽子(ようこ)@シーラチャ)


 
2 Comments

Posted by on 05/21/2011 in Variety, Waseda News

 

Waseda Sriracha Diary : “Happy Birthday” for Nishikawa Sensei

ใกล้เวลาเที่ยงคืนแล้วจ้า …
เชิญชวนชาววาเซดะมาร่วมรับประทานเค้กวันเกิดรอบดึกกับอาจารย์นิชิกาว่า

วันที่  20 พฤษภาคม  เป็นวันคล้ายวันเกิดของอาจารย์นิชิกาว่าค่ะ

ขอให้เซนเซสุขภาพแข็งแรง และ… ขอให้ผอมไวๆตามที่ตั้งใจนะคะ

Happy Birthday,
wish you have this year is the best year for you Niahikawa Sensei.

 

フットサル場

こんにちは。わせだニュース@シーラチャーです。


この間(あいだ)、学校(がっこう)の近(ちか)くにフットサル場(じょう)(Futsal place)
ができました。コート(court)は全部(ぜんぶ)で2面(めん)あります。フットサルをし
ている人(ひと)はいませんでしたが、係員(かかりいん)のユットさんがコートの
鍵(かぎ)を開(あ)けてくれました。料金(りょうきん)(Charge)は、午前(ごぜん)
9時(じ)から午後(ごご)5時までは1時間(じかん)500B。午後(ごご)5時(じ)
から午前(ごぜん)0時(じ)までは1時間(じかん)800Bだそうです。

 最近(さいきん)、学校(がっこう)の近(ちか)くにはお店(みせ)が増(ふ)えました。
日本料理(にほんりょうり)のレストランもあります。

今(いま)まで韓国料理(かんこくりょうり)のレストランしかありませんでしたから、
私(わたし)は嬉(うれ)しかったです。

でも、行(い)ってみたらびっくりしました。メニュー(menu)が全部韓国語
(ぜんぶかんこくご)だったからです。

日本料理(にほんりょうり)のレストランですが、オーナー(owner)
は韓国人(かんこくじん)なんです。

(書(か)いた人(ひと):山崎正二(やまさきしょうじ))


 

はじめまして

はじめまして。谷口(たにぐち)栄里(えり)と申(もう)します。これから、みなさんと一緒(いっしょ)
に楽(たの)しく日本語(にほんご)を勉強(べんきょう)します。私(わたし)は京都
(きょうと)から来(き)ました。京都(きょうと)にはたくさんのお寺(てら)や神社(じんじゃ)
があります。今回(こんかい)は、私(わたし)の家(いえ)の近(ちか)くにある「随(ずい)
心院(しんいん)」というお寺(てら)を紹(しょう)介(かい)します。

随(ずい)心院(しんいん)は小野小町(おののこまち)という女(おんな)の人
(ひと)のお寺(てら)です。小野小町(おののこまち)は平安(へいあん)時代(じだい)
の人(ひと)(西暦(せいれき)9世紀(せいき)ごろの人(ひと))で、日本(にほん)では、
エジプト(Egypt)のクレオパトラ(Cleopatra)、中国(ちゅうごく)の楊(よう)貴(き)妃(ひ)
(Yang Gui fei)と並(なら)んで、世界(せかい)三大(さんだい)美人(びじん)と言(い)
われています。お寺(てら)の中(なか)には、小野小町(おののこまち)が化粧
(けしょう)をするとき使(つか)った井戸(いど)(well)が残(のこ)っています。


また、このお寺(てら)は梅(うめ)の花(はな)で有名(ゆうめい)です。毎年(まいとし)
3月(がつ)になると、梅(うめ)の花(はな)が咲(さ)き、たくさんの観光客(かんこうきゃく)
(tourists)が来(き)ます。それから、1か月(げつ)に1回(かい)、
フリーマーケットがあります。


いつもは静(しず)かであまり人(ひと)がいませんが、実(じつ)
は、このお寺(てら)は時代劇(じだいげき)((Samurai dramas, movies)
の撮影(さつえい) (shooting dramas, movies)によく使(つか)われます。
私(わたし)の母(はは)は、「今日(きょう)、買(か)い物(もの)に行(い)くとき、
お寺(てら)で北大路欣也(きたおおじきんや)や藤原(ふじわら)竜也(たつや)
を見(み)たわよ。」とうれしそうに言(い)います。

みなさんも、興味(きょうみ)があったら、ぜひ行(い)ってみてください。
有名(ゆうめい)な俳(はい)優(ゆう)に会(あ)えるかもしれませんよ。

(書(か)いた人(ひと):谷口(たにぐち) 栄里(えり))

 
Leave a comment

Posted by on 05/18/2011 in Variety, Waseda News

 

สัมมนาหลักสูตร “การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ”


เป็นที่ทราบกันดีว่า การทำธุรกิจทุกประเภทเต็มไปด้วยการเจรจาต่อรอง
การเจรจาต่อรองเป็นศาสตร์ที่ต้องอาศัยกลยุทธ์เพราะเป็นการใช้คำพูด
เพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เราจำเป็นต้องรู้ว่าควรเมื่อใด
กับใคร และอย่างไร   การเจรจาจึงถือเป็นทักษะหนึ่งที่สำคัญยิ่งที่จะนำพาองค์กร
และบุคคลประสบความสำเร็จ และไปถึงเป้าหมายที่ตั้งใจไว้

ด้วยความสำคัญนี้ เมื่อวันศุกร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2554
บริษัท วาเซดะ เอ็ดดูเคชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด จึงจัดสัมมนาหลักสูตร
“การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ”  (Business Negotiation) โดยได้รับเกียรติจากท่านวิทยากร
ผู้เชี่ยวชาญ “อาจารย์พันธ์ศักดิ์  ลีลาวรรณกุลศิริ” รองผู้อำนวยการอาวุโสด้าน SMEs
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเป็นวิทยากรโครงการพัฒนาผู้ประกอบการ (คพอ.)
กรมส่งเสริมอุจสาหกรรม มากว่า 20 ปี วิทยากรรับเชิญสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทย
อาจารย์พิเศษวิชาด้านการเงินในสถาบันชั้นนำ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้

ในการสัมมนาครั้งนี้ผู้ร่วมสัมมนาได้รับทั้งความรู้และวิธีคิดซึ่งนำไปสู่กลยุทธ์การเจรจา
ต่อรองแบบมืออาชีพ ตั้งแต่ขั้นเตรียมการ สนามแห่งการเจรจาต่อรอง จนถึงวิธีปิดการเจรจา
ต่อรองอย่างมีประสิทธิภาพ  รวมทั้งข้อคิดที่สำคัญสำหรับการเจรจาต่อรอง
อีกทั้งยังได้ฝึกการเจรจาใน  workshop อีกด้วย

สำหรับท่านที่พลาดการเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร “การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ” ครั้งที่ผ่านมา
วาเซดะจะจัดอบรมหลักสูตรดังกล่าวอีกครั้งที่ ศูนย์วัฒนธรรมนานาชาติวาเซดะ  ศรีราชา
จังหวัดชลบุรี  ในวันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2554เท่านั้น

รายละเอียดเพิ่มเติม

วันและเวลา
วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2554  เวลา 8.30-17.00น.

สถานที่
ศูนย์วัฒนธรรมนานาชาติวาเซดะ อำเภอศรีราชา  จังหวัดชลบุรี

ค่าใช้จ่าย
3,500 บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และหักภาษีณที่จ่าย 3%)

**รวมเอกสารประกอบการสัมมนา, ของว่าง และอาหารกลางวัน**

สำรองที่นั่ง
บริษัท วาเซดะ เอ็ดดูเคชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด

โทรศัพท์ 02-670-3456 , 089-139-2662



 
Leave a comment

Posted by on 05/15/2011 in Activities, Seminiar

 

สัมภาษณ์นักศึกษาฝึกงาน : แจน กับ กล้วย

หลังจากที่ได้สัมภาษณ์น้องๆฝึกงาน จากทางฝั่งศรีราชากันไปแล้ว
วันนี้ขอนำเสนอน้องๆฝึกงานจากทางฝั่งพระนครบ้างนะคะ

ขอแนะนำน้องๆสองสาว นักศึกษาฝึกงานจากสถาบันเดียวกันค่ะ

อโณทัย  วาฤทธิ์ (แจน)
และ นฤมล  พลช่วย (กล้วย)

ทำอย่างไรจึงมาฝึกงานที่วาเซดะได้คะ

แจน :  แจนรู้จักวาเซดะมานานแล้วค่ะ เคยมารอเพื่อนเคยเมื่อสมัย ม.5 ค่ะ
5 – 6ปีผ่านมาแล้ว ช่วงกำลังหาที่ฝึกงานก็ได้คุยกับน้ำและฝ้ายที่เคยร่วมทำงาน
กับวาเซดะมาก่อน แล้วสนใจอยากมาฝึกที่นี่ ก็เลยขอตามมาฝึกด้วยคนค่ะ


กล้วย
  : รู้จักวาเซดะเมื่อ 2 ปีก่อน มีรุ่นพี่ที่มหาวิทยาลัยแนะนำให้มาช่วยงาน
กิจกรรมที่ศูนย์สิริกิตต์  จากนั้นพอมีงานอะไรก็มาช่วยงานวาเซดะเรื่อยๆ
รวมทั้งกิจกรรม Japanese Fun Course  เมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมาด้วยค่ะ
และพอถึงช่วงปิดเทอมมีนา ก็ได้มีโอกาสมาฝึกงานกับทางวาเซดะอีกครั้งค่ะ

การทำงานในแต่ละวันที่วาเซดะทำอะไรบ้าง

แจน : ช่วงเดือนแรกจะเป็นส่วนของกิจกรรม Japanese Fun Course แต่ละวัน
เวลาโดยส่วนใหญ่ก็จะเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จะใช้สำหรับกิจกรรมในส่วนวัฒนธรรม
เพราะว่าที่กรุงเทพฯเราคิดกิจกรรมแบบอลังการงานสร้างมาก ทำให้เราต้องเตรียม
งานกันเยอะมากด้วยเช่นกันค่ะ แต่ก็จะมีช่วยงานทำงานในส่วนของการบริการ
นักเรียนและอาจารย์บ้าง ช่วยพี่ๆรับโทรศัพท์ให้ข้อมูลต่างๆบ้างค่ะ

กล้วย  :   ในช่วงแรกๆมีกิจกรรม Japanese Fun Course ค่ะ ก็เลยเน้นการทำงาน
ตรงนั้นเป็นส่วนใหญ่  ทั้งคิดกิจกรรมการเรียนรู้ เล่นเกมส์กับน้องๆ แล้วก็สรุปผลงานค่ะ
จากนั้นก็ทำหน้าที่ประสานงานทั่วไป  มีแนะนำคอร์สการเรียน ช่วยงานพี่ๆ
บางครั้งก็ช่วยงานอาจารย์ญี่ปุ่น ค่ะ

ความประทับใจจากกิจกรรม Japanese Fun Course

แจน : ประทับใจมากถึงมากที่สุดค่ะ น้องๆน่ารักและเชื่อฟังกันดี ทำให้ดูแลได้ไม่ยาก
แต่ก็มีบางครั้งที่จะซนบ้างดื้อบ้างตามประสาเด็กค่ะ ในส่วนของกิจกรรมและการเรียน
น้องๆก็ให้ความร่วมมือดีมาก แถมหลายๆคนยังสามารถคิดอะไรต่อยอดไปได้มากกว่า
ที่เราคาดหวังเอาไว้ แบบว่าน้องจินตนาการบรรเจิดมากๆ แจนเลยมีความสุขสนุกสนาน
ทุกวันเลยค่ะ

กล้วย  :  ได้รู้จักน้องๆ ได้ร่วมกิจกรรมสนุกๆด้วยกันค่ะ และที่สำคัญกล้วยจะโดนน้องๆ
แกล้งตลอดเลย กิจกรรมนี้ถึงแม้จะเป็นช่วงเวลาแค่สิบวัน แต่ก็รู้สึกผูกพันกับน้องๆทุกค
จนถึงทุกวันนี้ก็ยังมีการติดต่อกันเรื่อยๆค่ะ ทั้งทางโทรศัพท์ facebook และ msn 

บรรยากาศการทำงานที่วาเซดะ

แจน : พี่ๆเป็นกันเองมากๆค่ะ ทำให้ทำงานด้วยง่ายไม่เครียดมาก เซนเซและนักเรียน
ที่นี่ก็เป็นกันเองค่ะบางคนก็จะมีเข้ามาคุยเล่นกันบ้างระหว่างช่วงพัก ทำให้ไม่น่าเบื่อค่ะ
แต่ในบางช่วงที่งานยุ่งๆทุกคนจะตั้งใจทำงานกันมากๆ ถึงขนาดที่ว่าเลยเวลาเลิกงานไป
แล้วก็ยังนั่งทำงานกันจนกว่าจะเสร็จเลยค่ะ

กล้วย  :  บรรยากาศการทำงานดีค่ะ  พอถึงเวลาทำงานทุกคนก็จะตั้งใจทำงาน
นอกจากนี้ก็ยังได้เห็นการทำงานของอาจารย์ญี่ปุ่นด้วยค่ะ แต่ละท่านตั้งใจทำงานมาก
ถึงแม้จะเป็นวันหยุด แต่ก็มาทำงานกัน สุดยอดจริงๆ

มาฝึกงานที่นี่ให้ประสบการณ์ชีวิตอะไรกับน้องๆบ้าง

แจน : ก็ได้รับประสบการณ์อะไรหลายๆอย่างนะคะ เช่น ความอดทนอดกลั้น
การทำงานร่วมกับผู้อื่นที่มีตำแหน่งสูงกว่า ได้เรียนรู้ระบบการทำงานในองค์กร
และเครื่องใช้ในสำนักงาน แจนคิดว่าต่อไปจะได้นำประสบการณ์ต่างๆที่ได้รับ
จากการฝึกงานไปใช้ในอนาคตค่ะ

กล้วย  :   ที่นี่ให้ประสบการณ์หลายด้านค่ะ อันแรกคือ ได้เรียนรู้นิสัยของผู้คนมากขึ้น
และรู้ว่าจะต้องปรับตัวยังไงเพื่อให้สามารถทำงานร่วมกันได้ สองคือ ด้านการทำงานค่ะ
การฝึกงานก็เหมือนการทำงานจริงๆ ซึ่งเราก็ต้องตั้งใจและทุ่มเทเหมือนเป็นหนึ่ง
ในองค์กรนั้นไม่ใช่แค่ทำให้ผ่านๆไปค่ะ และสุดท้ายคือ ด้านการแก้ปัญหาค่ะ
ไม่ว่าจะงานอะไรก็ตามมันสามารถ เกิดปัญหาได้เสมอ ซึ่งเราก็ต้องหาทางแก้
โดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อองค์กร  ในส่วนนี้ก็ได้เรียนรู้จากพี่ๆ
ซึ่งก็ได้แนวคิดใหม่ๆเข้ามาค่ะ

 
ในอนาคตอยากทำงานแบบไหน

แจน :  อยากทำงานที่ได้ใช้ภาษาญี่ปุ่นค่ะ ถ้ามีโอกาสได้ไปทำงานที่ประเทศญี่ปุ่นก็จะดีใจมากๆเลยค่ะ  Get go To Japan!
กล้วย  :  อยากทำหลายอย่างมากเลย อันแรกถ้าเป็นไปได้ อยากทำงานเป็นล่ามค่ะ แต่ก็คงต้องเก็บเกี่ยวประสบการณ์อีกหลายปี เพราะมีรุ่นพี่บอกว่ายากมากๆ
ดังนั้นก็เลยคิดว่า คงทำงานในบริษัทญี่ปุ่นทั่วไปก่อนค่ะอาจจะเป็นตำแหน่ง admin ก็ได้

ฝากอะไรทิ้งท้ายก่อนจบกิจกรรมการฝึกงานค่ะ

แจน : อยากจะขอบคุณพี่ๆทุกคนเลยค่ะ ที่ช่วยดูแล คอยให้คำชี้แนะในเรื่องต่างๆ ตลอด 2เดือน แจนได้รับประสบการณ์ที่ไม่เคยได้เรียนรู้ในห้องเรียนจากที่นี่มากมาย ได้เรียนเรียนรู้สิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้น และมีเพื่อนใหม่ๆด้วยค่ะ

กล้วย  :   ก็ขอบคุณพี่ๆมากๆค่ะที่ดูแลแนะนำและให้ความช่วยเหลือในด้านการทำงาน  ถ้าไม่มีการฝึกงานก็คงจะไม่รู้ว่า การทำงานจริงๆนั้นเป็นอย่างไรและประสบการณการฝึกงานที่ได้รับจากวาเซดะในครั้งนี้ กล้วยก็จะนำไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์กับการทำงานในอนาคตค่ะ  สุดท้ายก็ต้องขอขอบคุณพี่ๆและอาจารย์ญี่ปุ่นที่ได้ให้ความช่วยเหลือและประสบการณ์อันมีค่านี้ค่ะ

 

เส้นทางการสอบวัดระดับ 2 ของ ภูษิต ตุ๋งคง (ดำ)

 

เรายังคงตามติดชีวิตของนักเรียนวาเซดะอย่างต่อเนื่อง  หากยังจำกันได้
เราเคยสัมภาษณ์คุณดำมาแล้วครั้งหนึ่ง  ตอนนั้นคุณดำกำลังเตรียมตัวสอบวัดระดับ 2
โดยยอมลงทุนลงแรง ลาออกจากงานประจำแล้วเข้ากรุงเพื่อมาเรียนที่วาเซดะ กรุงเทพฯ
เป็นระยะเวลา 1 ปีเต็มๆ

ความพยายามตลอด 1 ปีเต็ม กับการสอบวัดระดับ 2 ยังไม่สัมฤทธิ์ผล
เพราะคุณดำยังพลาดหวังจากการสอบวัดระดับเมื่อครั้งที่ผ่านมา
เรียกได้ว่า อกหักดังเป๊าะ (ดราม่าเล็กน้อย)

แต่จะดราม่าขนาดไหน เศร้าเสียใจขนาดไหน ก็ยังไม่ยอมแพ้
เพราะวันออกพรรษาไม่ได้มีหนเดียว วันวาเลนไทน์ไม่ได้มีหนเดียว
เฉกเช่นเดียวกับ การสอบวัดระดับก็ไม่ได้มีแค่หนเดียว

ดังนั้นแล้ว หลังจากพลาดท่าเสียที กับข้อสอบวัดระดับ 2 ที่ผ่านมา

คุณดำกลับมาตั้งหลักใหม่ กลับมาหางานทำที่บ้านเกิด
และแน่นอน  ภูษิต ตุ๋งคง  เขากลับมากู้ชีพของตัวเองอีกครั้ง
กับการเตรียมตัวสอบวัดระดับ 2 … ที่วาเซดะ ศรีราชา … อีกครั้ง

ตอนนี้ทำงานอะไรอยู่คะ

ก่อนอื่นก็ต้องขอสวัสดีพี่ๆ น้องๆ และเพื่อนๆ ทุกท่านก่อนนะครับ
หลังจากผมเรียนจบที่วาเซดะ กรุงเทพฯ  เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ปี 53
จากนั้นก็เริ่มออกหางานหาการทำตั้งแต่เดือนมกราคม 54 ครับ
ไปสัมภาษณ์อยู่ประมาณ 4 – 5 แห่งครับ ท้ายที่สุดก็มาสมัครกับ
บริษัทบางกอกอีสเทิร์นคอยล์เซ็นเตอร์ จำกัด ในนิคมอุตสาหกรรม
อีสเทิร์นซีบอร์ด ( ระยอง ) สัมภาษณ์รอบแรกกับผู้จัดการฝ่ายโรงงาน
และคุณภาพกับผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล สัมภาษณ์รอบสอง
กับท่านประธานโรงงาน

ตื่นเต้นมากครับสำหรับการสัมภาษณ์งาน แต่คงเป็นเพราะทางวาเซดะ
มีหลักสูตรการสอนที่ดีมากครับ สามารถฟังและตอบคำถามได้อย่างเข้าใจ
หมดทุกคำถาม และได้เริ่มงานกับบริษัทบางกอกอีสเทิร์นคอยล์เซ็นเตอร์ จำกัด
ในตำแหน่ง Customer Service & Quality Control & Interpreter
( Quality Control Department ) ตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
เป็นต้นมาครับ

งานที่ทำอยู่ได้ใช้ภาษาญี่ปุ่นอย่างเต็มทีหรือเปล่าคะ

เนื่องจากต้องออกไปพบปะหรือร่วมประชุมหารือกับลูกค้าในเรื่องเกี่ยวกับคุณภาพของงาน
ซึ่งในบางครั้งก็ไปกับเจ้านายญี่ปุ่นด้วยก็จะทำหน้าที่ในการแปลในที่ประชุม
( แปลไทยเป็นญี่ปุ่น และแปลญี่ปุ่นเป็นไทย ) หรือบางครั้งถ้าเจ้านายไปได้ไปด้วยก็จะต้อง
นำผลการประชุมมาจัดทำรายงานการประชุมเพื่อเสนอต่อเจ้านายญี่ปุ่น  การใช้ภาษาญี่ปุ่น
ในการทำงานก็มีโอกาสได้ใช้ครับแต่ก็ไม่เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะที่บริษัทฯ
มีพนักงานที่พูดภาษาญี่ปุ่นได้ ( ล่าม ) จำนวน 2 คน เมื่อนับผมไปได้ด้วยก็เท่ากับ 3 คน
ก็เลยไม่ได้ใช้เต็มที่ร้อยเปอร์เซ็นต์สักเท่าไหร่ครับ

ขออนุญาตถามถึงสถิติในการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่นของคุณดำ
ในระดับ 2 หรือ
N2  ไม่ทราบว่า ผ่านสมรภูมิการสอบมาแล้วกี่ครั้ง
(ถามให้ปวดใจทำไมเนี่ย …)

อายจังครับสำหรับคำถามนี้  อิอิ  ผมเคยเข้าสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับ 2 ( แบบเก่า )
มาแล้วจำนวน 2 ครั้งครับ เมื่อปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 ก็ยังไม่ผ่านสักที
ก็เลยตัดสินใจลาออกจากกงานเพื่อที่จะมุ่งเน้นกับการเรียนอย่างจริงจังที่วาเซดะ กรุงเทพฯ
โดยเริ่มเรียนตั้งแต่ เดือนเมษายน ปี 53 เป็นต้นมา ซึ่งในระหว่างนั้นก็สอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น
ระดับ N3 ( แบบใหม่ ) ประสบความสำเร็จในการสอบครับ ผ่านฉลุย  และท้ายสุดคือการเข้าสอบ
วัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับ N2 ( ถือว่าเทียบเท่ากับระดับ 2 แบบเก่า ) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ปี 53
แฮะๆๆๆๆ ไม่ผ่านครับ สอบตก อิอิ ตอนนั้นเสียใจมากเลยครับ

แต่ไม่เป็นไรครับความรู้อยู่กับตัวเรา ยังมีโอกาสสอบอีกตั้งมากมาย ปีนี้เอาใหม่
ไม่ยอมแพ้หรอกนะ  ตอนนี้ก็กำลังเรียนติวสอบวัดระดับอยู่ที่วาเซดะ ศรีราชาอยู่ครับ
ในใจคิดว่ายังไงต้องทำให้ได้  ยังไงก็ไม่ยอมแพ้แน่ๆ  (เอ๊า  ปรบมือออออ)


เราติดตามชีวิตการเรียนภาษาญี่ปุ่นของคุณดำมานาน ( เป็นปี )
เห็นว่าคุณดำมีความเพียรและพยายามเป็นอย่างมาก มันมีแรงจูงใจ
หรือ แรงบันดาลใจที่ลุกขึ้นมาต่อสู้กับสิ่งที่คิดว่า

” มันยากจัง … จะไหวไหม “

ผมคิดว่า คนเราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกที่จะเป็นคนดีได้ หรือ คนเราเลือกเกิดไม่ได้
แต่สามารถเลือกหรือกำหนดเส้นทางชีวิตของตนเองได้นะครับ ผมคิดแบบนี้อยู่บ่อยๆครับ
ดังนั้นผมจะคิดและวางแผนในการดำเนินชีวิตของผมเอง เช่นการเรียนภาษาญี่ปุ่น
ตอนแรกที่เรียนผมยอมรับครับ ว่าเคยโยนหนังสือทิ้งเลยก็มี มันรู้สึกว่ายากมากมาย
ทำใมมันยากอย่างนี้ ไม่เรียนแล้ว

แต่ในเมื่อเรามีแผนและดำเนินการตามแผนแล้ว  จ่ายเงินค่าเรียนไปแล้วด้วย
เราจะล้มเลิกไปง่ายๆนั้น ไม่ได้ครับ ต้องอดทน ต้องพยายาม มันไม่มีอะไรที่ยากเกิน
ความสามารถของคนไปได้หรอกครับ ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีอุปสรรค
แต่ภายในอุปสรรคนั้นมันก็มีแสงสว่างและทางออกของมัน ขึ้นอยู่ว่าเราจะอดทน
และค้นหาแสงสว่างหรือทางออกของตัวเองเจอหรือเปล่า

สำคัญที่สุดก็คือ ไม่มีอะไรยากหรือเป็นไปไม่ได้ถ้าคนเราหรือมนุษย์เรายังคงมี
ความเพียรพยายามและมุ่งมั่นอยู่น่ะครับ  เวลาเจออุปสรรคหรือปัญหามันก็มีบ้างที่เหนื่อย
ล้า หรือ ท้อแท้ ท้อแท้ได้นะครับแต่ห้ามท้อถอย สู้ๆๆ ครับ

เป้าหมายในการเรียนภาษาญี่ปุ่น

เป้าหมายสูงสุดในการเรียนภาษาญี่ปุ่นของผม ณ ตอนนี้ คือ
การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับ N2 ผ่านให้ได้ก่อนนะครับ
และก็จะพยายามหาเวลาเรียนและหาความรู้เพิ่มเติมอีกนะครับ
ในอนาคตถามว่าจะมุ่งมั่นที่จะให้ได้ระดับ N1 เลยไหม
ตอนนี้ผมยังไม่ได้ตั้งเป้าหมายไปถึงขนาดนั้นหรอกครับ
คงจะต้องขอทำเป้าหมายปัจจุบัน ( การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น ระดับ N2 )
ให้สำเร็จก่อนครับ

ฝากอะไรถึงคนที่กำลังเตรียมตัวสอบวัดระดับเหมือนคุณดำ

ขอให้ทุกๆคนที่กำลังเตรียมตัวสอบวัดระดับอยู่เหมือนกันกับผม
ไม่ว่าจะเป็นการสอบวัดระดับใดก็ตาม อย่างไงก็ขอให้ทุกๆคน
พยายามทำอย่างสุดความสามารถครับ ไม่ว่าผลสอบออกมาจะเป็นอย่างไรก็ตาม
( แน่นอนเราทุกๆท่านก็คาดหวังที่จะผ่านให้ได้ )
ยังไงก็ขออย่าได้ยอมแพ้นะครับ

มาครับ เรามาพยายามด้วยกัน

 

รายการโทรทัศน์สัมภาษณ์นักศึกษา ม.วาเซดะ อภินรา ศรีกาญจนา

รายการ Station of Life  สัมภาษณ์ อภินรา  ศรีกาญจนา (มะปราง)
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปศาสตร์นานาชาติ  มหาวิทยาลัยวาเซดะ
ที่โรงเรียนภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นวาเซดะ ค่ะ

มะปรางได้เล่าถึงการเรียนที่วาเซดะและการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นไว้อย่างน่าสนใจ
พร้อมทั้งคำแนะนำสำหรับผู้ที่ต้องการสอบเข้ามหาวิทยาลัยวาเซดะหรือไปเรียนที่ญี่ปุ่น

ติดตามชมได้ในรายการ Station of Life ช่อง TNN2 (True Visions)  
วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคมนี้ เวลา 14.00น. นะคะ

อ่านข้อมูลเกี่ยวกับคณะศิลปะศาสตร์นานาชาติ  มหาวิทยาลัยวาเซดะ
http://www.waseda.jp/sils/en/

 

พี่หมีวาเซดะ ปะทะ ดราก้อนบอลล์แก๊งค์

โรงเรียนสอนภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นวาเซดะ ศรีราชา
เข้าร่วมกิจกรรมสนุกๆในงาน Cosplay & Comics Party
ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซ่า ชลบุรี ระหว่างวันที่ 30 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2554

โดยพวกเราได้ไปจัดกิจกรรม Hanko Workshop (แกะตราประทับยางลบ)
และกิจกรรมบนเวที สาธิตการพับผ้าฟุโรชิกิและตอบคำถามชิงรางวัลจากวาเซดะ

ขอบคุณศิษย์เก่า และนักเรียนทุกคน รวมทั้งผู้ปกครองที่แวะเวียนไปทักทายที่บูธวาเซดะนะคะ
ดีใจที่ได้เจอทุกคน  ไว้โอกาสหน้ามาเจอกันใหม่ค่ะ  ช่วงนี้พี่หมีเขาเดินสายทั่วเมืองชล


พี่หมีวาเซดะ ทักทายเด็กๆ (ขวัญใจสาวๆด้วยนะ)


สาธิตการพับผ้าฟุโรชิกิ โดย อาจารย์ยูโกะ โตยะมะ


กิจกรรม Workshop – แกะยางลบตราประทับ 消しゴムはんこ